วันพุธที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2559

             
 บทที่ ๒

 อิเหนา ตอนศึกกะหมังกุหนิง
                           
             
 
        อิเหนา เป็นวรรณคดีที่ได้รับการยกย่องของบทละครลำ เพราะเป็นหนังสือซึ่งแต่งดีทั้งกลอน ทั้งความ และทั้งกระบวนการที่ตะเล่นละครประกอบการ และยังเป็นหนังสือที่ดี ในทางที่ตะศึกษาประเพณีไทยสมัยโบราณ  แม้บทละครเรื่องอิเหนาจะมีเค้าโครงมาจากนิทานพื้นเมืองของช... อ่านเพิ่มเติม

วันพุธที่ 31 สิงหาคม พ.ศ. 2559

ดอกไม้ในวรรณคดี

 ดอกไม้ในวรรณคดีไทย หมายถึงดอกไม้ที่บรรดากวีไทยท่านได้พรรณาไว้เป็นบทร้อยกรองอย่างไพเราะในหนังสือวรรณคดี เช่น รามเกียรติ์  อิเหนา เงาะป่า ดาหลัง ขุนช้างขุนแผน พระอภัยมณี บทเห่เรือเจ้าฟ้าธรรมธิเบศร์ กาพย์ห่อโคลงนิราศธารโศก กาพย์ห่อโคลงนิราศทองแดง นิราสหริภุญชัย นิราศพระประธม นิราศสุพรรณ นิราศเมืองแกลง นิราศภูเขาทอ  อ่านเพิ่มเติม


คำที่ใช้ ฤ, ฤๅ, ฦ, ฦๅ

 ตัว "ไม่ไช่คำที่เป็นภาษาไทยแท้ เป็นคำที่นำมาจากภาษาอิ่น โดยนำมาจากภาษาสันสกฤตซึ่งในภาษาสันสกฤตจะอ่านออกเสียงเป็น " ริ " แต่เมื่อไทยเราได้นำมาใช้ ตัว "ก็อ่านออกเสียงได้หลายแบบ และยังนำมาใช้เป็นสระในภาษาไทยจัดอยู่ในรูปของสระเกินหรือสระลอย ซึ่งสระในภาษาไทยของเราจะมี 21  รูป  32  เสียง รวม ฤ ฤๅ ฦ ฦๅเข้าไปด้วย แต่ตัว "ไม่ได้ทำหน้าที่เป็นสระ    อ่านเพิ่มเติม

วันพุธที่ 10 สิงหาคม พ.ศ. 2559

การย่อความ

คือ การจับใจความสำคัญ จับประเด็นสำคัญของเรื่องที่ได้อ่าน ได้ฟังหรือได้ดูมาอย่างย่อๆแล้วนำมาเรียบเรียงใหม่ให้ได้ความครบถ้วน สั้น กระชับ ด้วยสำนวนภาษาขอ อ่านเพิ่มเติม

การสื่อสารผ่านจดหมาย

จดหมาย คือข้อความที่เขียนขึ้นเพื่อส่งสารจากบุคคลหนึ่งไปยังบุคคลหนึ่ง อาจมีความหมายรวมไปถึงกระดาษหรือสื่อที่ใช้เขียนหรือสร้างจดหมายนั้น ในอดีตก่อนคริสต์ศตวรรษที่ 19 จดหมายเป็นการสื่อสารที่เชื่อถือได้เพียงชนิดเดียวระหว่างบุคคลสองคนจากสถานที่ต่างกัน โดยการส่งผ่านทางนกพิราบสื่อสารหรือด้วยบริการไปรษณีย์ เมื่อเทคโนโลยีพัฒนามากขึ้น มีการประดิษฐ์โทรเลข โท อ่านเพิ่มเติม

การอ่านให้ผู้อื่นฟัง

การอ่านให้ผู้อื่นฟัง อันได้แก่ ทักษะการหายใจ ทักษะการใช้เสียงและทักษะการทรงตัว เป็นทักษะพื้นฐานให้การอ่านให้ผู้อื่นฟังโดยทั่วไป แต่ถ้าเป็นการอ่านทางวิทยุโทรทัศน์และในที่ชุมนุมชนที่เป็นทางการ ยังต้องมีทักษะอื่น ๆ อีกหลายประก อ่านเพิ่มเติม

การพูดขั้นพื้นฐาน

เพื่อให้การพูดประสบความสาเร็จ ผู้พูดควรมีความรู้พื้นฐานในการพูด ดังต่อไปนี้

ประเภทของการพูด
            ประเภทของการพูดแบ่งตามลักษณะการพูดได้ 2 ประเภท ดังนี้
            1. การพูดอย่างไม่เป็นทางการ คือ การพูดในชีวิตประจำวัน เช่น การสนทนา การพูดโทรศัพท์ การแนะนำตัว การซักถาม การตอบคำถาม เป็นต้น     ผู้พูดต้องฝึกฝนให้เป็นผู้ที่พูดได้ถูกต้อง น่าฟัง และเหมาะสมกับกาลเทศะและบุคคล
            2. การพูดอย่างเป็นทางการ หมายถึง การพูดอย่างเป็นพิธีการในที่ประชุม หรือ กา อ่านเพิ่มเติม